ความหมายและประเภทของการประมาณค่าพารามิเตอร์
การประมาณค่าพารามิเตอร์ เป็นวิธีนำเอาข้อมูลที่ได้จากตัวอย่างไปคาดคะเนคุณลักษณะของประชากร
ประเภทของการประมาณค่าพารามิเตอร์ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. การประมาณค่าแบบจุด (Point Estimation)
2. การประมาณค่าแบบช่วง
(Interval Estimation)
การประมาณค่าแบบจุด (Point Estimation)
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง
ดังนั้น โดยเฉลี่ยแล้วนักศึกษาสาขาสถิติมีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเช่าหอพักโดยเฉลี่ย 3,111.11 บาทต่อเดือน
ตัวอย่าง
ฝ่ายพัฒนานักศึกษาต้องการวางแผนงานเกี่ยวกับการเล่นพนันฟุตบอลของนักศึกษา จึงทำการสุ่มนักศึกษามา 80 คน สอบถามและได้ข้อมูลว่ามีนักศึกษาเล่นพนันฟุตบอลจำนวน 24 คน จงประมาณค่าสัดส่วนของนักศึกษาที่เล่นพนันฟุตบอลแบบจุด
ดังนั้น ในจำนวนนักศึกษาทั้งหมด มีนักศึกษาร้อยละ 30 ที่เล่นพนันฟุตบอล
ตัวอย่าง
จากข้อมูลเวชระเบียนของโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง พบว่าจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไขเลือดออกในช่วงที่โรคระบาดเป็นระยะเวลา 7
วัน เป็นดังนี้ 4 3 7 4 6 5 7
จงประมาณความแปรปรวนของจำนวนผู้ป่วย โดยใช้การประมาณแบบจุด
ดังนั้น จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกมีความแปรปรวน 2.48 คน ยกกำลัง 2
การประมาณค่าแบบช่วง (Interval Estimation)
การประมาณค่าแบบช่วง (Interval Estimation) หมายถึง การประมาณ
ค่าพารามิเตอร์ของประชากรโดยใช้ตัวประมาณที่มีค่าเป็นช่วง
การประมาณค่าเฉลี่ยประชากรแบบช่วง
ตัวอย่าง
จากข้อมูลในอดีตที่ผ่านมาทำให้ทราบว่า น้ำหนักของนักเรียนในโรงเรียนแห่งหนึ่งมี
การแจกแจงแบบปกติที่มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.5 กิโลกรัม สุ่มตัวอยา่งนักเรียนมาจำนวน 23 คน
พบว่ามีค่าเฉลี่ยของน้ำหนัก เท่ากับ 65.5 กิโลกรัม จงประมาณค่าเฉลี่ยน้ำหนักของนักเรียนด้วยช่วงความเชื่อมั่น 90%
ดังนั้น น้ำหนักเฉลี่ยของนักเรียนคือ 63.9565 – 64.0435 กิโลกรัม ด้วยความเชื่อมั่น 90%
การประมาณค่าสัดส่วนประชากรแบบช่วง
ตัวอย่าง
ถ้าสุ่มตัวอย่างประชาชนที่อยู่ในจังหวัดหนึ่งมาจำนวน 100 คน
พบว่า มีประชาชนที่มีหนี้จำนวน 60 คน จงประมาณช่วงความเชื่อมั่น 95% ของสัดส่วนประชาชนในจังหวัดดังกล่าวที่เป็นหนี้ทั้งหมด
การประมาณความแปรปรวน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากรแบบช่วง
ตัวอย่าง
ถ้ารายได้ของร้านขายอาหารในมหาวิทยาลัยมีการแจกแจงแบบปกติ สุ่มตัวอย่างร้านขายอาหารมาจำนวน 10 ร้าน สอบถามรายได้ต่อวัน พบว่า มีความแปรปรวนของรายได้เท่ากับ 500 บาท
จงประมาณความแปรปรวนของรายได้ของร้านขายอาหารใน
มหาวิทยาลัยแห่งนี้ที่ระดับความเชื่อมั่น 90 %
ดังนั้น ร้านขายอาหารในมหาวิทยาลัยมีความแปรปรวนของรายได้ในช่วง
266.27 ถึง 1,351.35 บาท ด้วยความเชื่อมั่น 90%
ตัวอย่าง
จงประมาณช่วงความเชื่อมั่น 95% ของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของรายได้ของร้านขายอาหารในมหาวิทยาลัย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น